ศูนย์รวมข้อมูลแห่งการเรียนรู้

แหล่งข้อมูลข่าวสาร สารสนเทศ นวัตกรรมการศึกษา และการประกอบธุรกิจ

สื่อสังคม ออนไลน์กับ ธุรกิจดิจิทัล

,

สื่อสังคม-002

มนุษย์เป็นสังคมที่ต้องมรการสื่อสารข้อมูลถึงกันและกัน ซึ่งใน สมัย โบราณมนุษย์สื่อสารข้อมูลโดยการที่ไม่ซับซ้อน เช่น ปากเปล่า ม้าเร็ว และ นกพิราบสื่อสาร ต่อมามีการปรับเปลี่ยนการสื่อสาร เป็นจดหมาย โทรเลข โทรศัพท์ วิทยุ จากนั้น เมื่อเข้าสู่ยุคที่มี เครือข่ายคอมพิวเตอร์และ อินเทอร์เน็ตเข้ามาเกี่วข้องการสื่อสาร ข้อมูลของมนุษย์มีการปรับเปลี่ยน เป็นสื่อที่เกี่ยวกับอิเล็กทรอนิกส์ มากขึ้น เช่น บริการ IRC (Internet Relay Chat) โปรแกรมพูดคุย (Chat Program) จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ และ เว็บบอร์ด(Electronic Mail) (Webboard)

สื่อสังคมออนไลน์ คือ สื่อที่ผู้ส่งสาร แบ่ง สาร ซึ่งอยู่ในรูปแบบต่าง ๆ ไป ยังผู้รับ สารผ่านเครือข่ายออนไลน์ โดยสามารถ โต้ตอบกันระหว่าผู้ส่ง สารและผู้รับสาร ซึ่งสามารถแบ่งสื่อสังคมออนไลน์ ออกเป็นประเภทต่าง ๆ ดังนี้

  1. บล็อก (Weblogs หรือเรียกสั้น ๆ ว่า Blogs) คือ ประเภทของระบบการจัดการเนื้อหาที่อ านวยความ สะดวกให้ผู้เขียนบล็อกเผยแพร่ และแบ่งปันบทความของตนเอง การสื่อสารถึงกันอย่างเป็นกันเอง ระหว่างผู้เขียนและผู้อ่านบล็อกผ่านการแสดงความคิดเห็น (Comment)
  2. เครือข่ายสังคมออนไลน์ (Social Networking) เครือข่ายสังคมออนไลน์ คือ เว็บไซต์ที่ผู้คนสามารถติดต่อสื่อสารกับเพื่อน ที่รู้จัก มาก่อน หรือรู้จักภายหลังทางออนไลน์ ซึ่งเว็บไซต์เครือข่ายสังคม ออนไลน์แต่ละแห่งมีคุณลักษณะแตก ต่างกันออกไป แต่ส่วนประกอบหลัก ที่มีเหมือนกัน คือ โปรไฟล์ เพื่(Profiles- อแสดงข้อมูลส่วนตัว เจ้าของบัญชี) การเชื่อต่อ เพื่(Connecting- อสร้างเพื่อนกับคนรู้จักและไม่รู้จักทาง ออนไลน์) และการส่ง ข้อความ (Messaging-อาจเป็นข้อความส่วนตัว หรือ ข้อความสาธารณะ)

ไมโครบล็อก3. (Microblogging) ไมโครบล็อก คือ รูปแบบหนึ่งของบล็อกที่ มีการจำกัดขนาดของการโพสต์แต่ละครั้ง ซึ่งทวิตเตอร์เป็นไม่โคร บล็อกที่จำกัดการโพสต์แต่ละครั้งไม่เกิน 140 ตัวอักษร

ธุรกิจดิจิทัลโมไบล์

ธุรกิจดิจิทัลโมไบล์ ความหมายของธุรกอจดิจิทัลโมบาย ธุรกิจดิจิทัลโมบาย (Digital Mobile Business) เป็นกระบนการท าธุรกรรมออนไลน์ต่าง ๆ โดยใช้ เทคโนโลยีเคลื่ อนที่ไร้สาย

แนวคิดเกี่ยวกับ ความมั่นคง ปลอดภัย สำหรับธุรกิจ ดิจิทัล

  1. ความเสี่ยงและภัยคุกคาม แนวคิดเกี่ยวกับ ต่อธุรกิจดิจิทัล ความมั่นคงปลอดภัย สำหรับธุรกิจดิจิทัล
  2. มุมมองด้านการจัดการความ มั่นคงปลอดภัยต่อธุรกิจดิจิทัล
  3. การจัดการความเสี่ยงและภัย คุกคามดิจิทัล